ผลการเก็บข้อมูลการยกระดับทุนทางวัฒนธรรมบนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่องประเมินผลความพึงพอใจ (กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง)

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อาศัยอยู่จังหวัดสุราษฎร์ธานี คิดเป็นร้อยละ 62.86รองลงมาอาศัยอยู่จังหวัดชุมพร คิดเป็นร้อยละ 25.71 และอาศัยอยู่จังหวัดระนอง คิดเป็นร้อยละ 11.43


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา คิดเป็นร้อยละ 83.14 รองลงมามีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา คิดเป็นร้อยละ 16.86
ในกรณีที่มีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามเอเชียบูรพา

จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ตนเอง/คนในครอบครัว เคยมีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงฯ (ตรง) ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา คิดเป็น 100 %


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เห็นว่าภาครัฐ มีบทบาทหน้าที่ทางสังคม คิดเป็นร้อยละ 66.57 รองลงมาเห็นว่าภาคประชาสังคม คิดเป็นร้อยละ 33.43


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 83.43 รองลงมาเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 16.57


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อายุ 31 – 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 66.86 รองลงมาอายุ 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.14


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็น 100 %


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 83.43 รองลงมามีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 16.57


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 66.86 รองลงมามีระดับการศึกษาปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 33.14


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 30,000 บาท คิดเป็น 100 %

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลความน่าสนใจและความสามารถในการแข่งขันของเส้นทางการท่องเที่ยว

1. ท่านคิดว่า “ทิศทางของรูปแบบการท่องเที่ยว” ที่จะส่งผลกระทบต่อความน่าสนใจ และความสามารถในการแข่งขันของเส้นทางการท่องเที่ยว“เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา” ในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่อง ควรเป็นอย่างไร

รูปแบบการท่องเที่ยว ระดับความน่าสนใจ ระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม/ประวัติศาสตร์ 3.83 0.37 มาก 3.61 1.20 มาก
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและสิ่งแวดล้อม 3.83 0.37 มาก 3.56 1.17 มาก
การท่องเที่ยวเพื่อความบันเทิงและสันทนาการ 3.83 0.37 มาก 3.98 1.21 มาก
การท่องเที่ยวเชิงอาหาร (เพื่อการกิน-ดื่ม) 3.83 0.37 มาก 3.51 0.77 ปานกลาง
การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ (เข้ารับบริการ/รักษาที่ดี) 3.83 0.37 มาก 2.90 1.37 ปานกลาง
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (ส่งเสริม/บำบัด/ฟื้นฟูสุขภาพ) 3.83 0.37 มาก 3.19 0.85 ปานกลาง
การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมและนิทรรศการ (MICE) 3.23 0.66 ปานกลาง 3.27 0.85 ปานกลาง
การท่องเที่ยวทางธรรมชาติแบบภูเขา 3.04 0.73 ปานกลาง 3.25 0.87 ปานกลาง
การท่องเที่ยวทางทะเลและชายหาด 3.79 0.67 มาก 3.57 0.89 มาก
การท่องเที่ยวรูปแบบอื่นๆ 3.18 0.85 ปานกลาง 3.23 0.82 ปานกลาง

2. ท่านคิดว่า “แนวโน้มและปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระยะ 10 ปีข้างหน้า” ที่จะส่งผลกระทบต่อความน่าสนใจ และความสามารถในการแข่งขันของเส้นทางการท่องเที่ยว “เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา” ในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่อง ในแต่ละรูปแบบของการท่องเที่ยวควรเป็นอย่างไร


ส่วนที่ 4 : ข้อมูลการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว


ส่วนที่ 4 : ข้อเสนอแนะ

อยากให้มีโครงการที่ต้องการศึกษาประวัติศาสตร์ของ 3 จังหวัดนี้จริง ๆ และลงพื้นที่มาสำรวจเพื่อจัดทำให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถเป็นทริปที่สามารถเที่ยวร่วมกันได้ใน 3 จังหวัด