ผลการเก็บข้อมูลการยกระดับทุนทางวัฒนธรรมบนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่องประเมินผลความพึงพอใจ (กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก)
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 : ข้อมูลทุนทางวัฒนธรรมบนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
1. ในชุมชนของท่าน มีทุนทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่อง อย่างไร
รายการ | ชื่อ / เรื่องราวประวัติความเป็นมา / คำอธิบายคุณค่า | แหล่งที่ตั้ง/สถานที่พบ/ อื่น ๆ โปรดระบุ |
---|---|---|
1) คุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ ได้แก่ รูปแบบ หรือ องค์ประกอบ หรือลักษณะเด่นที่สวยงามในด้านสถาปัตยกรรมของอาคาร หรือสถานที่ หรือภูมิทัศน์ ในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงคราม มหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) กรมหลวงชุมพร 2) ทุ่งวัวแล่น 3) ภาพวาดฝาผนัง 4) หอประวัติศาสตร์ 5) อนุสาวรีย์ทหาร |
|
2) คุณค่าทางประวัติศาสตร์และการศึกษา ได้แก่ พื้นที่ หรือ สถานที่ หรือสิ่งของที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และมีประวัติความเป็นมาในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) ได้รวบรวมกองกำลังไปผลักดันทหารญี่ปุ่นคนละฝั่งคลองแม่นางสังข์ | 1) อนุสาวรีย์ยุวชนทหาร 2) โรงเรียนศรียาภัย |
3) คุณค่าทางสังคมและความสัมพันธ์กับผู้คน ได้แก่ กิจกรรมทางประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาท้องถิ่น อัตลักษณ์ที่โดดเด่นในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) แข่งเรือ ขึ้นโขนชิงธง 2) ใช้ภาษาที่เป็นน้ำเสียงดัง 3) เพลงบอก รำโทน หนังตะลุง 4) ขนมโค |
1) ท่าน้ำชุมพร |
4) คุณค่าทางจิตวิญญาณ ได้แก่ ศาสนา ความเชื่อ และความทรงจำ ที่อยู่ในสำนึกของผู้คนในชุมชน และถ่ายทอดคนรุ่นใหม่ในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) พ่อหลวงลอย อดีตเจ้าอาวาสวัดปากน้ำประชารังสฤษดิ์ 2) กรมหลวงชุมพร |
1) วัดปากน้ำประชารังสฤษดิ์ |
5) คุณค่าทางสัญลักษณ์ ได้แก่ องค์ประกอบชุมชนที่เป็นภูมิสัญลักษณ์ “Landmark” หรือ สถานที่ที่เป็นจุดสังเกต ทั้งที่มนุษย์สร้างขึ้นในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) กรมหลวงชุมพร 2) บ้านคอสน ต.ปากน้ำ เป็นจุดที่ทหารญี่ปุ่นยกพลขึ้นบก 3) อนุสาวรีย์ทหาร |
|
6) คุณค่าทางเศรษฐกิจ ได้แก่ กิจกรรมที่ตอบสนองการใช้ชีวิตประจำวันของคนในชุมชน และผู้มาเยือน/นักท่องเที่ยว รวมทั้งผลิตภัณฑ์ชุมชน/การบริการที่โดดเด่นในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) “นอนบ้านดิน ชมทะเลหมอกบ้านเขาฝาชี” ชุมชนแหล่งท่องเที่ยวศึกษาเส้นทางร่องรอยทางประวัติศาสตร์ พื้นที่ยุทธศาสตร์ฐานทัพญี่ปุ่นตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 2) OTOP มาดเท่ น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ต.วิลัยเหนือ 3) ขนมกล้วยเล็บมือนาง 4) ทะเลชุมพร 5) อ่าวบ้านคอสน |
|
7) คุณค่าของความแท้ ได้แก่ การคงไว้ซึ่งวัสดุก่อสร้างที่เหมาะสม วิธีการก่อสร้าง หรือวัตถุดิบ และรูปแบบที่เหมาะสมและโดดเด่นในจังหวัดของท่าน ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร | 1) รูปปั้นกรมหลวงชุมพร 2) วัดท่ายางเหนือ ต.ท่ายาง ทำจากไม้เนื้อแข็งและปักล้อมรอบด้วยใบเสมาแดง 3) สถานีรถไฟเขาฝาชี เป็นสถานที่ฝังศพของเชลยศึก 4) สนามบินเก่าและถ้ำสนุก ทหารญี่ปุ่นมาพักแรมเตรียมการเพื่อข้ามไปฝั่งระนองและไปยึดพม่า 5) สะพานไม้เคี่ยม ท่ายาง สิ่งก่อสร้างวัดนาทุ่ง 6) อนุสาวรีย์ กับซุ้มประวัติศาสตร์ให้รำลึกถึงวีรชน |
|
8) คุณค่าของบูรณภาพ (คำตอบที่ไม่อยู่ในข้อที่ 1-7) ได้แก่ ลักษณะของการดำรงอยู่ของคุณค่าทางวัฒนธรรม คือ
1) ทุนทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ ในชุมชนของท่าน เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ สถาปัตยกรรม และสถานที่สำคัญ จิตรกรรม ประติมากรรม หัตถกรรม วรรณกรรม ขนม / อาหารพื้นถิ่น สิ่งของเครื่องใช้/เครื่องมือประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร 2) ทุนทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ในชุมชนของท่าน เช่น ประเพณี / พิธีกรรม ศาสนา / ค่านิยม / ความเชื่อ ศิลปะการแสดง ศิลปะการต่อสู้ เรื่องเล่า ตำนาน ภาษาศาสตร์ (เป็นสำเนียงพูด โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ฯลฯ) การเยียวยาชีวิตหรือการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ (เป็นการทำและใช้สมุนไพร การนวดแผนโบราณ ฯลฯ) ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ด้านความรัก ระหว่างคนไทยและทหารญี่ปุ่นในช่วงสงคราม มหาเอเชียบูรพาเป็นอย่างไร |
1) กรมหลวงชุมพร 2) กาแฟคั่วมือผ่านการใช้ไม้อบเชย ช่วยลดน้ำตาลและไขมันในเลือด 3) ขนมโค/ขนมต้ม ใบกะพ้อประเพณีก่อเจดีย์ทราย 4) เพลงบอก เล่าขานประวัติเพลงบอกสอนลูก 5) ภาพวาดฝาผนัง เรื่องเล่าจากคนในชุมชน |
2. กรณีเมื่อมีการดำเนินโครงการนี้ ท่านคิดว่า “แนวทางการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพของการท่องเที่ยว” บนเส้นทางการท่องเที่ยว เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานีอย่างไร เพื่อเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยว ควรดำเนินการอย่างไร
2.1 ความน่าสนใจของกิจกรรมการท่องเที่ยว
ควรจัดทำแผนที่ประวัติศาสตร์จุดสำคัญ โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์การจัดทำแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาเรียนรู้สตอรี่ของพื้นที่นั้น ๆ และมีบริการห้องน้ำเคลื่อนที่เพื่ออำนวยความสะดวกให้นักท่องเที่ยว
2.2 ความสวยงามและการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาอาคาร/สถานที่/และภูมิทัศน์
ควรรักษาอาคาร สถานที่โบราณไว้ได้ให้มากที่สุด เพื่อให้เอกลักษณ์ของที่นั้น ๆ ยังคงอยู่ในรูปแบบเดิมให้มากที่สุด
2.3 สิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว หรือที่พัก
ห้องพัก/รีสอร์ท ที่สะอาด ปลอดภัย และมีเส้นทางการท่องเที่ยวที่สะดวก มีสาธารณูปโภคที่ครบถ้วน
2.4 ความปลอดภัย ณ สถานที่ท่องเที่ยว
มีกล้องวงจรปิดที่ทั่วถึงและมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในแต่ละจุดเพื่อบริการนักท่องเที่ยว
2.5 การจัดตั้งและขับเคลื่อนกลุ่มวิสากิจชุมชนที่เกี่ยวข้อง (กลุ่มอาชีพต่างๆ)
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่มีการจัดตั้งขึ้นควรได้รับการกระตุ้นได้ออกงานบ่อย ๆ เพราะจะทำให้ทางกลุ่มได้มีเงินเข้าไปหมุนเวียน หากบางกลุ่มที่อยากจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่อยากจัดตั้งควรมีหน่วยงานที่สามารถเข้าไปดูแลและแนะนำได้
2.6 ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว หรือมาตรฐานการให้บริการ (ด้านที่พัก/ความต่อเนื่องของกิจกรรม/บริการต่างๆ)
หน่วยงานภาครัฐควรมีการสำรวจ โรงแรม รีสอร์ท ที่พักและจัดทำประชาพิจารณ์เพื่อเตรียมความพร้อมและได้รับการตรวจสอบผ่านหน่วยงานภาครัฐก่อนจึงจะสามารถรับรองนักท่องเที่ยวได้
2.7 การพัฒนาสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อจำหน่ายนักท่องเที่ยว
หากเป็นสินค้าที่สามารถบริโภคได้ควรได้รับ อย.ก่อนจะหน่าย และควรมีทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามากำกับดูแล ทั้งในเรื่องคุณภาพ มาตรฐานและราคา
2.8 การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว (ข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว/ข้อมูลการเดินทาง/ข้อมูลที่พัก-บริการต่างๆ)
ควรใช้รูปแบบการประชาสัมพันธ์ในหลายรูปแบบ โดยเฉพาะผ่านทางโซเชียลมีเดีย โดยอาจจะจ้างอินฟูอินเซอร์ของแต่ละจังหวัด ททท. และหน่วยงานต่าง ๆ ช่วยประชาสัมพันธ์ ในส่วนของที่พักควรได้รับการตรวจสอบจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องก่อนจะเปิดให้นักท่องเที่ยวบริการ เพื่อผ่านการคัดกรองจากหน่วยงาน ก่อนนักท่องเที่ยวใช้บริการ
2.9 ความสะดวกในการใช้จ่าย (การใช้บัตรเครดิต/บัตรเดบิต/การใช้ตู้ ATM/ธนาคารออนไลน์)
หากเป็นสินค้าที่สามารถบริโภคได้ควรได้รับ อย.ก่อนจะหน่าย และควรมีทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามากำกับดูแล ทั้งในเรื่องคุณภาพ มาตรฐานและราคา
2.10 การติดตามและการประเมินผลการพัฒนา/การเปลี่ยนแปลงเพื่อนำมาปรับปรุง
การติดตามและประเมินผลให้เป็นนักท่องเที่ยว นักศึกษา ที่ได้มาใช้งานสถานที่ต่าง ๆ เป็นผู้ประเมิน
3. จากทุนวัฒนธรรมบนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เรื่องราวพลังแห่งความรักช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาในจังหวัดชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และพื้นที่ต่อเนื่อง ท่านอยากเสนอ “เป้าหมาย” หรือ “สิ่งที่อยากให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม” ในระยะ 10 ปีข้างหน้าอย่างไร
อยากให้มีการบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โดยมีการเชื่อมโยงกันทั้ง 3 จังหวัด ไว้ให้นักท่องเที่ยว นักศึกษา ที่มีความสนใจเข้ามาดูในรูปแบบละครสั้น หรือหนังสือ 3D
ส่วนที่ 3 : ข้อเสนอแนะ
ควรมีเส้นทางการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่มีการเชื่อมโยงกันทั้ง ระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี โดยมีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบครัว ไม่ว่าจะเป็นระบบความปลอดภัย Wi-fi และป้ายประวัติต่าง ๆ ที่สามารถสแกน QR Code ที่สามารถสแกนและจะมีวิดีโอ 3D นำเสนอ